จำนำ
Thai
Etymology
Borrowed from Old Khmer caṃnaṃ, caṃnām, caṃṇāṃ, caṃnāṃ (“recollection, remembrance; to recollect, to remember; etc”), extended form of Old Khmer cāṃ, cāṃma, cāṃmma, cāma, caṃ, cām, cāṃm, cam, from which Thai จำ (jam) was derived. Cognate with Modern Khmer ចំណាំ (cɑmnam).
Pronunciation
Orthographic | จำนำ t͡ɕ å n å | |
Phonemic | จำ-นำ t͡ɕ å – n å | |
Romanization | Paiboon | jam-nam |
Royal Institute | cham-nam | |
(standard) IPA(key) | /t͡ɕam˧.nam˧/ |
Noun
จำนำ • (jam-nam)
- (archaic) habitué; regular.
- (archaic) captive; hostage.
- (law) pledge.
- 1926, พระราชกฤษฎีกาให้ใช้บทบัญญัติแห่งประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ บรรพ ๑ และบรรพ ๒ ที่ได้ตรวจชำระใหม่ ลงวันที่ ๑๑ พฤศจิกายน ๒๔๖๘, มาตรา ๗๔๗:
- อันว่าจำนำนั้นคือสัญญาซึ่งบุคคลคนหนึ่งเรียกว่าผู้จำนำส่งมอบสังหาริมทรัพย์สิ่งหนึ่งให้แก่บุคคลอีกคนหนึ่งเรียกว่าผู้รับจำนำเพื่อเป็นประกันการชำระหนี้
- an-wâa jam-nam nán kʉʉ sǎn-yaa sʉ̂ng bùk-kon kon nʉ̀ng rîiak wâa pûu-jam-nam sòng-mɔ̂ɔp sǎng-hǎa-rí-má-sáp sìng nʉ̀ng hâi gɛ̀ɛ bùk-kon ìik kon nʉ̀ng rîiak wâa pûu-ráp-jam-nam pʉ̂ʉa bpen bprà-gan gaan-cham-rá nîi
- As for pledge, it is a contract by which a person, called pledgor, delivers a specific movable property to another person, called pledgee, as security for the performance of an obligation.
- อันว่าจำนำนั้นคือสัญญาซึ่งบุคคลคนหนึ่งเรียกว่าผู้จำนำส่งมอบสังหาริมทรัพย์สิ่งหนึ่งให้แก่บุคคลอีกคนหนึ่งเรียกว่าผู้รับจำนำเพื่อเป็นประกันการชำระหนี้
- 1926, พระราชกฤษฎีกาให้ใช้บทบัญญัติแห่งประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ บรรพ ๑ และบรรพ ๒ ที่ได้ตรวจชำระใหม่ ลงวันที่ ๑๑ พฤศจิกายน ๒๔๖๘, มาตรา ๗๔๗:
- (law and archaic) pledge or mortgage.
- 1983, ร. แลงกาต์, ประวัติศาสตร์กฎหมายไทย เล่ม ๒, มูลนิธิโครงการตำราสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์, →ISBN, page 354:
- คำว่าจำนองแต่ก่อนใช้ร่วมไปด้วยกับคำว่าจำนำและมีความเหมือนกันเพิ่งใช้ตามความในประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ในสมัยปัจจุบัน
- kam wâa jam-nɔɔng dtɛ̀ɛ-gɔ̀ɔn chái rûuam bpai dûai gàp kam wâa jam-nam lɛ́ mii kwaam mʉ̌ʉan gan pə̂ng chái dtaam kwaam nai bprà-muuan-gòt-mǎai pɛ̂ng lɛ́ paa-nít nai sà-mǎi bpàt-jù-ban
- The term chamnong was formerly used together with the term chamnam and the two were synonymous. They have just been used according to the Civil and Commercial Code in our days.
- คำว่าจำนองแต่ก่อนใช้ร่วมไปด้วยกับคำว่าจำนำและมีความเหมือนกันเพิ่งใช้ตามความในประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ในสมัยปัจจุบัน
- 1983, ร. แลงกาต์, ประวัติศาสตร์กฎหมายไทย เล่ม ๒, มูลนิธิโครงการตำราสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์, →ISBN, page 354:
Verb
จำนำ • (jam-nam) (abstract noun การจำนำ)
- (law) to pledge.
- 1926, พระราชกฤษฎีกาให้ใช้บทบัญญัติแห่งประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ บรรพ ๑ และบรรพ ๒ ที่ได้ตรวจชำระใหม่ ลงวันที่ ๑๑ พฤศจิกายน ๒๔๖๘, มาตรา ๗๕๐:
- ถ้าทรัพย์สินที่จำนำเป็นสิทธิซึ่งมีตราสารและมิได้ส่งมอบตราสารนั้นให้แก่ผู้รับจำนำทั้งมิได้บอกกล่าวเป็นหนังสือแจ้งการจำนำแก่ลูกหนี้แห่งสิทธินั้นด้วยไซร้ท่านว่าการจำนำย่อมเป็นโมฆะ
- tâa sáp-sǐn tîi jam-nam bpen sìt-tí sʉ̂ng mii dtraa-sǎan lɛ́ mí dâai sòng-mɔ̂ɔp dtraa-sǎan nán hâi gɛ̀ɛ pûu-ráp-jam-nam táng mí dâai bɔ̀ɔk-glàao bpen nǎng-sʉ̌ʉ jɛ̂ɛng gaan-jam-nam gɛ̀ɛ lûuk-nîi hɛ̀ng sìt-tí nán dûai sái tân wâa gaan-jam-nam yɔ̂m bpen moo-ká
- When the pledged property is a right represented by an instrument, if such instrument has been not delivered to the pledgee and debtors of that right have not been notified in writing of the pledge as well, then the pledge is said to be void.
- ถ้าทรัพย์สินที่จำนำเป็นสิทธิซึ่งมีตราสารและมิได้ส่งมอบตราสารนั้นให้แก่ผู้รับจำนำทั้งมิได้บอกกล่าวเป็นหนังสือแจ้งการจำนำแก่ลูกหนี้แห่งสิทธินั้นด้วยไซร้ท่านว่าการจำนำย่อมเป็นโมฆะ
- 1926, พระราชกฤษฎีกาให้ใช้บทบัญญัติแห่งประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ บรรพ ๑ และบรรพ ๒ ที่ได้ตรวจชำระใหม่ ลงวันที่ ๑๑ พฤศจิกายน ๒๔๖๘, มาตรา ๗๕๐:
- (law and archaic) to pledge or mortgage.
Derived terms
Derived terms
This article is issued from Wiktionary. The text is licensed under Creative Commons - Attribution - Sharealike. Additional terms may apply for the media files.